• กรมควบคุมโรคเตือน ระวังโรคฉี่หนู โดยเฉพาะเกษตรกร |
โพสต์โดย ตนข่าว , วันที่ 28 มิ.ย. 63 เวลา 21:44:36 IP: Hide ip |
กด like เพื่อติดตามข่าวสารดีๆ จาก cmprice.com VVVVVV
ลิงก์ผู้สนับสนุน
|
ลิงก์ผู้สนับสนุน
© เนื้อหาข่าว/กระทู้
กรมควบคุมโรค พยากรณ์โรคฯ ฉบับที่ 268 "เตือนประชาชน โดยเฉพาะในกลุ่มเกษตรกร ในช่วงหน้าฝนนี้ หลีกเลี่ยงการเดินลุยน้ำย่ำโคลน หรือแช่ในน้ำนานๆ อาจเสี่ยงสัมผัสกับเชื้อโรคได้ ระวังป่วยด้วยโรคไข้ฉี่หนู"
จากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค สถานการณ์ของ โรคเล็ปโตสโลตัสหรือโรคไข้สนู ในปี 2553 พบว่ามีจำนวน ผู้ป่วยรวมทั้งสิ้น 501 ราย เสียชีวิต 5 ราย โดยจังหวัดที่มีอัตรา ป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรกคือ ระนอง ยะลา พังงา ศรีสะเกษ และสตูล ตามลำดับ ส่วนภาคที่มีอัตราป่วยสูงสุดคือ ภาคใต้ รองลงมาคือภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลาง ถามสำดับ และกลุ่ม Đuwuunskry 45-54 0 sovavunhan 35-44 ปี หลังอายุ 55-64 ปี ตามลำดับ โดยอาชีพที่พบส่วนใหญ่คืออาชีพ เกษตรกร ร้อยละ 43
การพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพประจำสัปดาห์ คาดว่าในช่วงนี้มีโอกาสจะพบผู้ป่วยโรคไข้ฉีหนูเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเกษตรกรที่อาจสัมผัส กับเชื้อโรคมากกว่ากลุ่มอื่นๆ เนื่องจากช่วงนี้เป็นฤดูฝนซึ่งเป็นฤดูกาลทำนา และโรคนี้มักพบผู้ป่วย จำนวนมากในช่วงฤดูฝนของทุกปี ประกอบกับKลายพื้นที่มีน้ำท่วมหรือน้ำขัง ประชาชนจึงเสี่ยง ที่จะ ดินโคลนหลังน้ำลด โดยภาคตะวันออก รับเชื้อเข้าสู่ร่างกายได้ขณะลุยน้ำ แช่ในน้ำนานๆ หรือ เฉียงเหนือ จะพบผู้ป่วยสูงในช่วงเดือนมิ.ย.-ก.ย. ส่วนภาคใต้จะพบผู้ป่วยสูงช่วงเดือนพ.ย.-ม.ค.
โรคเลปโตสไปโรสหรือโรคไข้ Ku เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน เชื้อจะถูกปล่อยออก มากับปัสสาวะของสัตว์ที่ติดเชื้อ โดยเฉพาะนู ซึ่งเชื้ออาจปนเปื้อนอยู่ตามน้ำ ถินที่เปียกขึ้น หรือพืชผัก สามารถเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังตามรอยแผล รอยขีดข่วน และเยื่อบุของปาก ตา และจมูก นอกจากนี้ยังสามารถเข้าทางผิวหนังปกติที่อ่อนนุ่มเนื่องจากแช่น้ำอยู่นาน ซึ่งคนมักติดเชื้อทางอ้อมขณะดินโคลน Kรือแช่น้ำท่วม หรืออาจติดโรคโดยตรงจากการสัมผัส เชื้อในปัสสาวะสัตว์หรือเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนเชื้อโดยการกินอาหารหรือน้ำ กรมควบคุมโรค ขอแนะนำว่า ในการป้องกันโรค โดยหลีกเลี่ยงการแข่หรือลุยในน้ำที่อาจปนเปื้อน เชื้อจากปัสสาวะสัตว์นำโรค หรือถ้าจำเป็นควรสวมรองเท้าบู๊ตหรือใช้ถุงมือยาง เช่น การทำความ สะอาดบ้านหลังน้ำลด การทำเกษตรกรรมหรือเลี้ยงสัตว์ หลังจากลงไปในแหล่งน้ำหรือดินโคลน ควรรีบทำความสะอาดร่างกาย กินอาหารที่ปรุงสุกใหม่และใส่ภาชนะมิดชิด ควรล้างผัก ผลไม้ ให้สะอาดก่อนนำมารับประทาน และควรควบคุมกำจัดหนูในบริเวณที่อยู่อาศัย สถานที่ทำงาน และแหล่งท่องเที่ยว สำหรับผู้ที่มีประวัติเสี่ยงแช่น้ำ ย่ำดินโคลน หรือบุคคลทั่วไป หากพบว่ามีอาการป่วยด้วย ไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะรุนแรง Kนาวสั่น ตาแดง ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง โดยเฉพาะที่น่องและ โคนขา ให้รีบไปพบแพทย์เพื่อเข้ารับการรักษาโดยเร็ว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สายด่วน กรมควบคุมโรค โทร. 1422
สายด่วน กรมควบคุมโรค 1422
ลิงก์ผู้สนับสนุน
กระทู้/ข่าว อื่นๆ ที่น่าสนใจ
|
|
|
|
แจ้งลบกระทู้นี้
อ่าน 757 |
|
แสดงความคิดเห็น |
โดย ตนข่าว
IP: Hide ip
, วันที่ 28 มิ.ย. 63
เวลา 21:44:36
|